000 nam a22 i 4500
999 _c3136
_d3136
005 20190824100033.0
008 171129b2012 th a|||| |||| 00| 1 tha d
020 _a9789741404117
040 _aMRIG
_btha
_cMRIG
082 0 4 _aย.
_bพ257จ
100 0 _aเพร์แวรต์, ฌาคส์,
_eผู้แต่ง
245 1 0 _aจดหมายจากหมู่เกาะชเลจร = Lettre des iles baladar /
_cเขียนโดย ฌาคส์ เพร์แวรต์ ; แปลโดย วัลยา วิวัฒน์ศร
246 3 1 _aLettre des iles baladar
264 1 _aกรุงเทพฯ :
_bผีเสื้อฝรั่งเศส,
_c2555
300 _a144 หน้า :
_bภาพประกอบ ;
_c21 x 16 ซม.
500 _aเนื้อหาเป็นภาษาไทยและภาษาฝรั่งเศส
520 _aฌาคส์ เพร๎แวรต์ ต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมมาแต่ไหนแต่ไร ดังปรากฏในบทกวีของเขามากมายหลากหลายบท ตั้งแต่ ค.ศ.๑๙๓๐ เป็นต้นมา งานประพันธ์ที่แสดงความคิดดังกล่าวชัดเจนยิ่งก็คือ เรื่อง ‘จดหมายจากหมู่เกาะชเลจร’ ตีพิมพ์ภาษาฝรั่งเศสค.ศ. ๑๙๕๒ นี้ เพร๎แวรต์เรียกประเทศนักล่าอาณานิคมทุกประเทศรวมกันว่า ‘มหาทวีป’ ที่ซึ่งผู้ฅนบูชาเงินตราและเป็นแหล่งรวมแห่งข่าวโคมลอย ค่ายโจร ฯลฯ ดังเห็นได้จากชื่อหนังสือพิมพ์ฉบับต่างๆ ของมหาทวีป ชาวเกาะชเลจรนั้นตรงข้าม พวกเขาอยู่อย่างสันติสุข ทำประมง ทำไร่ทำสวน หุงหาอาหารเอง และแต่งเพลงเอง ยามฅนแปลกถิ่นมาเยือนก็มอบผลผลิตจากธรรมชาติต่างเงินตรา อาทิ ผลสาลี่ ยาสูบ แยมดอกกุหลาบ ความสุขของชาวเกาะชเลจรมิได้ขึ้นอยู่กับพระผู้เป็นเจ้า หากอยู่ในเสรีภาพและความสุขส่วนบุคคลซึ่งเป็นหนึ่งเดียวกันกับเสรีภาพและความสุขส่วนรวมของชาวเกาะทั้งปวง เช่นนี้ชาวเกาะจึงเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน อีกทั้งได้รับความร่วมมือจาก ‘ฅนงานผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง’ ซึ่งถูกเกณฑ์มาสร้างสะพานใหญ่เชื่อมมหาทวีปกับเกาะและพร้อมจะร่วมใจกับชาวเกาะตั้งแต่แรกรู้จัก ฅนงานเหล่านี้ถอดสลักเกลียวจากเสาสะพาน หนีกลับไปบ้านในถิ่นไกลของตน การต่อสู้ของชาวเกาะผู้เปี่ยมความคิดฝัน ด้วยมิเคยลืมวัยเด็กของตน จะมีผลเป็นอย่างไร อ่านคงคาดเดาได้และพึงใจเมื่ออ่านนิยายเรื่องนี้ถึงตอนจบ วัลยา วิวัฒน์ศร ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
650 7 _aวรรณคดีฝรั่งเศส
700 0 _aวัลยา วิวัฒน์ศร,
_eผู้แปล
850 _aMRIG
942 _2ddc
_cFIC
998 _crathtee