000 01202nam a2200193 a 4500
999 _c3197
_d3197
003 MRIG
005 20180107001250.0
008 18 s2001 th a 000 0 tha d
020 _a9741401876
040 _aCU
_cMRIG
041 1 _atha
_hjpn
082 _aรป
_bช236ห 2544
100 0 _aชิมามูระ, โนริโอะ
245 1 0 _aหนีไฟนรก /
_cเขียนโดยโนริโอะ ชิมามูระ ; จากคำบอกเล่าของ เจีย กิมลั้ง ; แปลจากภาษาญี่ปุ่น โดย ผุสดี นาวาวิจิต ; รูปประกอบ: ธนารัชต์ โสตะจินดา ; บรรณาธิการต้นฉบับแปล: มกุฎ อรดี
250 _aพิมพ์ครั้งที่ 5.
260 _aกรุงเทพฯ :
_bผีเสื้อ,
_c2544.
300 _a208 หน้า :
_bภาพประกอบ ;
_c19 ซม.
520 _aเขียนจากคำบอกเล่าของ เจีย กิมลั้ง เรื่องนี้อาจจะนับได้ว่าเป็นภาคสอง หรือตอนจบสมบูรณ์ของเรื่อง '๔ ปี นรกในเขมร' ผุสดี นาวาวิจิต (มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๗)
520 _aผู้แปลบอกว่า แม้จะเขียนโดยนักเขียน ๒ ฅน แต่ก็ได้ทำงานร่วมกัน กล่าวคือ เมื่อครั้งที่ ยาสึโกะ นะอิโต เขียนเรื่อง '๔ ปี นรกในเขมร' เธอได้รับคำแนะนำและความช่วยเหลือจากโนริโอะ ชิมามูระ อยู่ไม่น้อย ครั้นโนริโอะ ชิมามูระ เขียนเรื่องของเจีย กิมลั้ง ก็ได้ยาสึโกะช่วยเป็นล่ามแปลภาษาเขมรเป็นภาษาญี่ปุ่น ความแตกต่างระหว่างเรื่องสองเรื่องที่ชัดเจนก็คือ เรื่องหนึ่งมาจากมุมมองและความรู้สึกของสตรีชาวญี่ปุ่น มีภูมิหลังจากครอบครัวเก่าเป็นภรรยานักการทูต ส่วนอีกเรื่องหนึ่งเขียนจากคำบอกเล่าของหญิงสาวชาวเขมร ซึ่งไม่เคยรู้จักสังคมภายนอกมากไปกว่าประเทศเล็กๆ ของตนเอง แต่ไม่ว่าชีวิตของฅนทั้งสองจะแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงเพียงใดก็ตาม ท้ายที่สุดก็ต้องผจญเคราะห์กรรมเหมือนกัน นั่นคือ ความโหดร้ายที่ยากจะบรรยายภายใต้ผู้นำการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาติเขมรที่ชื่อว่า 'พล พต' จากคอลัมน์ : ในโลกกว้าง หนังสือเนชั่นสุดสัปดาห์ วันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๐
600 1 7 _aเจีย กิมลั้ง,
_cค.ศ.1957-
650 7 _aผู้ลี้ภัยชาวกัมพูชา
700 1 _aเจีย กิมลั้ง
700 0 _aผุสดี นาวาวิจิต
850 _aMRIG
942 _2ddc
_cJBK